Categories

Archive

Design (in) Action for Health | จากห้องเรียนออกแบบ สู่โลกจริงช่วยชีวิตผู้ป่วย

เมื่อนักเรียนนักออกแบบจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์นำความรู้ในห้องเรียนออกมาสร้างใช้งานจริงให้กับผู้ป่วยไต ที่ไม่สามารถไปโรงพยายบาลได้ ด้วยการออกแบบ เป็นโครงการ บ้านล้างไตเคลื่อนที่ ‘บ้านตาน้อย 1.0’ “…เป็นพื้นที่พยาบาลสำหรับผู้มีรายได้น้อยที่อาศัยห่างไกลโรงพยาบาลชุมชน ไม่สะดวกเดินทาง เพื่อให้สามารถล้างไตด้วยตน เองที่บ้านได้ในสภาพแวดล้อมที่สะอาดปลอดภัย ผลงานการออกแบบของกลุ่มนิสิตในรายวิชา Action Design คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ถูกพัฒนาและสร้างขึ้นจริงในงบประมาณ 5 หมื่นบาท” อ้างอิงมาจากอาจารย์ปุ้ย สายทิวา รามสูต หัวหน้าภาคสถาปัตยกรรมคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไปโหลดรายละเอียดได้ที่นี่ครับ http://builtenviforhealth.info/upload/download/th_161102094556.pdf ที่มาภาพจาก Design for Health …. When classroom’s studio design in Thailand to practically solve a real world Read more ›

Startup Thailand | ธุรกิจ startup ธุรกิจสร้างสรรค์ ที่เติบโตแบบก้าวกระโดด

เปิดตัวไปแล้วครับ เพื่อสนับสนุน ธุรกิจ STARTUP ของคนไทย โดย National Innovation Agency (Thailand) Startup ป็นธุรกิจที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีแบบแผน และใช้เทคโนโลยีมาเป็นส่วนสำคัญในการดำเนินธุรกิจ มีศักยภาพการเติบโตสูงมากหรือ ‘โตแบบก้าวกระโดด’ ” เข้าไปดูได้ที่นี่ครับ Startup Thailand ผมมีโอกาสได้รับเชิญให้เขียนบทความสั้นๆสำหรับ Startup Thailand Magazine (download เล่มที่หนึ่ง) เกี่ยวกับ Design ลองเข้าไปอ่านดูนะครับ เรื่องแรกเกี่ยวกับการออกแบบเพื่อผู้ใช้ USERS MATTER (ตัวอย่างข้างล่างครับ คราวหน้าจะนำเนื่อหามาลงครับ) ต้องขอขอบคุณกองบอกอด้วยครับ    

Artificial Intelligence: Design (& Research) | ความฉลาดจอมปลอมจะเปลี่ยนโลก

Artificial Intelligence หรือ AI เข้ามาช่วยเปลี่ยนโลกและ Disrupt พฤติกรรมมนุษย์มากขึ้นทุกวัน สถาบันวิเคราะห์ทางธุรกิจ McKinsey Global Institute รายงานว่าเมื่อปี 2016 ที่ผ่านมา มีการลงทุนเทคโนโลยี AI ถึง $30-$46 Billion (ดอลล่าร์)ทั่วโลก โดย 90% ของเงินนี้เจาะจงไปที่งานวิจัยพัฒนาและการออกแบบ (R&D) แนวความคิดสั้นๆของ AI คือการประมวลผลจากการตั้งค่าสมการ Algorithm ให้คอมพิวเตอร์เรียนรู้เลียนแบบและประเมินผลลัพท์ที่ซับซ้อนหลากหลายออกมา กระบวนการคล้ายๆ Neural Networks ที่ประติดประต่อในสมองมนุษย์ ผลการประเมินของ AI (หรือบางทีเรียกว่า Deep Mind) สามารถส่งผลลัพท์ได้ตรงกับเป้าหมายทางธุรกิจ ที่ต่างไปจากการคาดคะเน Read more ›

(Co) Working Community & Data-Driven Design 2 | สถานที่ทำงานสมัยใหม่ ตอนที่ 2

ต่อจากตอนที่แล้วครับ… การออกแบบพื้นที่ใช้สอย co-woring spaces ให้สวยน่าใช้ ไม่ใช่เรื่องยากสำหรับนักออกแบบ แต่การประเมินเอาองค์ประกอบต่างๆมาวางรวมกันให้เหมาะเจาะ ส่วนใช้งานอะไรตรงไหน จำนวนโต๊ะขนาดห้องประชุม พื้นที่ต่างๆ มีความยาก และจำเป็นต้องมีความรู้ที่ทันสมัยเสมอ เพราะการทำงานของ Co-working Spaces มีความ Flexibility อยู่มาก จึงเป็นเรื่องความชำนาญในการวิเคราะห์ตีโจทย์ให้แตก ที่นักออกแบบนำจากการสัมภาษณ์ จากงานที่เคยทำหรืองานของผู้อื่นมาเป็น Case Studies เพื่อการประเมินผลเพื่ออกแบบ การเก็บข้อมูลและประเมินนี้จะครบถ้วนหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับการค้นคว้าการเข้าถึง ซึ่งเป็นทักษะเป็น Intuition เทคโนโลยีปัจจุบันได้พัฒนาสามารถคำนวณและคาดคะเนอะไรต่างๆได้ชัดเจนและเร็วขึ้น จากการใช้ Machine Learning, Deep Learning หรือ Artificial Intelligence เมื่อมีข้อมูลมากขึ้นการคาดการจำนวนพื้นที่สร้างทำงานเพื่อตอบสนองการใช้งานก็ใกล้เคียงกับความต้องการมากเมื่อเทียบกันการนักออกแบบประเมิน องกรค์อย่าง WeWork Read more ›

Usability UI UX Resources | แหล่งข้อมูลความรู้ User Research/Usability

หนึ่งในแหล่งข้อมูลความรู้สำหรับ UI/UX วิจัย แบะออกแบบโดย US Government https://www.usability.gov ตั้งแต่ขั้นตอนระเบียบวิธีวิจัยต่างๆ ฟอร์มทีมีให้ใช้ และแนวทาง ความรู้ User Experience เบื้องต้น การหา Participants การสร้างเนื้อหา การดูแลบริหารงาน องค์ประกอบในการออกแบบ

(Co) Working Community & Data-Driven Design 1 | สถานที่ทำงานสมัยใหม่ ตอนที่ 1

หัวใจของการออกแบบคือการทำให้ผู้ใช้ได้ประสบการณ์ที่ดีที่สุด ทั้งจากการใช้งานหรือจากทัศนียภาพรูปลักษณ์ การออกแบบที่พักอาศัย การออกแบบสถานที่ทำงานก็เช่นกัน โดยเฉพาะทุกวันนี้การออกแบบสถานที่ทำงานก็ต้องดัดแปลงรองรับพฤติกรรมผู้ใช้ที่เปลี่ยนไป บทความวันนี้ผมนำแก่นที่สำคัญของการออกแบบ Co-Working Spaces ที่มุ่งผลประโยชน์ต่อพฤติกรรมการทำงานแบบใหม่ที่มีส่วนทำให้เกิดการเปลี่ยนโลกการทำงานของเราดัวยครับ โดยแก่นที่หนึ่งเป็นการสร้างชุมชนนักทำงาน (Community-Driven Collaboration) ที่ส่งเสริมการทำงานร่วมกัน ส่วนแก่นที่สองเป็นการนำเอาเทคโนโลยี Artificial Intelligence มาจัดการสร้างฐานข้อมูลเพื่อช่วยในการออกแบบ (Data-Driven Design) Co-Working Spaces หนึ่งในธุรกิจปัจจุบันที่เข้ามาสนับสนุนการพฤติกรรมผู้คนในการทำงานสมัยใหม่ เป็นการจัดการใช้สอยพื้นที่ของมนุษย์ที่ต้องการความคล่องตัวและเป็นอิสระสูง รองรับ Freelancers, นักลงทุนรุ่นใหม่และรวมไปถึงคนทำงานในสตาร์ทอัฟทุกวันนี้ Co-Working Spaces จึงเหมาะกับทั้งคนทำงานเดี่ยวและกลุ่ม แต่มีโอกาสมาพบปะร่วมกับผู้อื่น ที่มีวิสัยทัศน์ทั้งใกล้เคียงและแตกต่างกัน ที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนซึ่งกันและกัน แก่นแรกของการออกแบบคือการสร้างพื้นที่ใช้สอยที่เอื้อต่อการทำงานร่วมกันได้ (Community-Driven Collaboration) ถือเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่ก่อให้เกิดพัฒนาไปด้วยกัน แม้ว่าหลักการในการทำงานของตัวเองในสถานที่ร่วมกับผู้อื่นแบบนี้ ไม่ใช่หลักการอะไรใหม่ที่เพิ่งจะเกิดขึ้น หากเราย้อนกลับดูสมัย Read more ›

Super Mario Augmented Reality in Central Park | คุณ Abhishek Singh ทำเกมเองเล่นเอง

เมื่อวานนี้ที่งาน Augmented Reality New York Meetup  คุณ Abhishek Singh มาเล่าให้ฟังถึงความเป็นมา ที่เอา HoloLens มาผนวกกับ Super Mario เล่นในสวนสาธารณะในนิวยอร์ค เพิ่งหัดเขียนโคดเองไม่กี่ปี (Unity 3D) บอกว่าเอาพอเป็น คุณ Abhishek มี background ด้านบริหารธุรกิจ งานนี้ งานอดิเรกล้วนๆ โปรเจคนี้ ทำไม่เกินเดือนนึง แปะลง Youtube เมื่อวันพุธก่อน ณ วันนี้อาทิตย์เต็มๆ 7 แสนกว่า วิวแล้วครับ น่าจะด้วยเหตุผลง่ายๆ คนรู้จัก Super Mario Read more ›

Binge-Watch นั่งดูแบบมาราธอน

binge watch คืออะไร … binge watch คือการดูทีวีที่เป็นเป็นซีรี่ย์ๆต่อๆกันไปหลายๆตอน หรือไปจนจบ หรือเค้าเรียกว่านั่งดูแบบมาราธอน marathon viewing มีการใช้เรียก binge watch กันตั้งแต่ช่วง 2013 และเหมือนกับจะเป็นปรากฎการณ์พฤติกรรมที่ตอบสนองผู้บริโภคที่ฮิตๆใหม่ๆ มากขึ้นทุกวันนี้ แต่จริงๆแล้วการดูทีวีซีรี่ย์ประเภทนี้ไม่ใช่ว่าเพิ่งจะเกิดขึ้นมานะครับ เมื่อก่อนมีวีดีโอให้เช่า มีดีวีดี ก็ทำได้กันมาแล้วแหละ ผมจำได้ว่า ผมก็มีอาการนี้มาก่อนนานแล้ว ตั้งแต่สมัยที่เคยเช่าละครมาดูเย็นวันศุกร์หลังเลิกงาน จากร้านไทยใน china town แล้วดูต่อๆกันจนจบไปถึงวันอาทิตย์ อย่างอื่นไม่ทำ แล้วเอาวีดีโอไปคืนวันจันทร์ นั่นก็ช่วงกลางปี 90s สมัยที่ดีวีดียังไม่ฮิตด้วยซ้ำ ทีนี้พอ technology มันดีมันถึง มีการ steam หนังหรือทีวีซีรี่ย์ Read more ›

Human Machine Interface & Data Manipulation : แตะได้รู้สึกได้อีกแบบหนึ่ง ด้วยการเคลื่อนไหว

In this talk, John Underkoffler demos g-speak, the real-life version  computer interface where it is how tomorrow’s computers will be controlled. It has been 20-25 years of research with the hope that it will come to everyone computer soon. It’s all Read more ›

Thailand Green Building Measure | ระดับความเป็นสีเขียวของอาคารภาคสอง ที่วัดกันในประเทศไทย

หลังจากที่ได้รู้จักกับการประเมินและการวัดความเป็นสีเขียวของอาคาร ในต่างประเทศไปกันแล้วเมื่อครั้งก่อน วันนี้เราจะมาทำความรู้จักเกี่ยวกับ เกณฑ์การวัดหรือการประเมินความเป็นสีเขียวของอาคารแบบไทยๆ ของเรากันบ้าง มีการกล่าวว่าการเลือกใช้การแบบการประเมิณที่ดี ควรจะเป็นการใช้ที่ เป็นของในส่วนท้องที่นั้นๆ ถึงจะเป็นสิ่งที่ดีที่สุด โดยเฉพาะเกณฑ์ที่พัฒนาตามหลักการ ของพื้นที่ภูมิอากาศท้องถิ่นนั้นๆ เพราะอาคารและบ้านเรือนของเรา นี้อยู่ในภูมิภาคร้อนชื้น การจะไปเอาแบบประเมิณการวัดของประเทศหนาวมาใช้ โดยตรง ก็คงจะไม่ถูกต้องหรือได้รับความเที่ยงตรงนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แบบการประเมินที่ไม่ได้รับการปรับปรุงให้เหมาะสมกับท้องที่ของประเทศไทยเสียก่อน (เปรียบเสมือนกับการเอาคนต่างชาติมาวัดมาตรฐานความอร่อยของอาหารไทย) แต่เนื่องจากมาตรฐานเพื่อเป็นการวัดระดับความเป็นสีเขียวทีีมีนั้น ได้เกิดขึ้นและพัฒนามาในต่างประเทศก่อน โดยประเทศไทยเรา ในการเริ่มต้นก็ได้นำเอามาปรับปรุง และโดยมีหน่วยงานของภาครัฐ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงานในขั้นต้น ได้มอบหมายให้คณะผู้วิจัยจากคณะสถาปึตกรรมศาสตร์และสถาบันวิจัยพลังงานต่างๆ โดยศึกษาและวิจัยจากระบบที่คล้ายๆกันกับระบบของ LEED – Leadership in Enery and Environmental Design ของสหรัฐอเมริกาโดย USGBC (US Read more ›