- September 2017
- August 2017
- July 2017
- June 2017
- November 2016
- June 2016
- May 2016
- May 2015
- June 2014
- May 2013
- August 2011
- October 2010
- August 2010
- February 2010
- November 2009
- October 2009
- September 2009
- August 2009
- July 2009
- June 2009
- May 2009
- April 2009
- March 2009
- February 2009
- January 2009
- December 2008
- November 2008
- October 2008
- September 2008
Thailand Green Building Measure | ระดับความเป็นสีเขียวของอาคารภาคสอง ที่วัดกันในประเทศไทย
หลังจากที่ได้รู้จักกับการประเมินและการวัดความเป็นสีเขียวของอาคาร ในต่างประเทศไปกันแล้วเมื่อครั้งก่อน วันนี้เราจะมาทำความรู้จักเกี่ยวกับ เกณฑ์การวัดหรือการประเมินความเป็นสีเขียวของอาคารแบบไทยๆ ของเรากันบ้าง มีการกล่าวว่าการเลือกใช้การแบบการประเมิณที่ดี ควรจะเป็นการใช้ที่ เป็นของในส่วนท้องที่นั้นๆ ถึงจะเป็นสิ่งที่ดีที่สุด โดยเฉพาะเกณฑ์ที่พัฒนาตามหลักการ ของพื้นที่ภูมิอากาศท้องถิ่นนั้นๆ เพราะอาคารและบ้านเรือนของเรา นี้อยู่ในภูมิภาคร้อนชื้น การจะไปเอาแบบประเมิณการวัดของประเทศหนาวมาใช้ โดยตรง ก็คงจะไม่ถูกต้องหรือได้รับความเที่ยงตรงนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง แบบการประเมินที่ไม่ได้รับการปรับปรุงให้เหมาะสมกับท้องที่ของประเทศไทยเสียก่อน (เปรียบเสมือนกับการเอาคนต่างชาติมาวัดมาตรฐานความอร่อยของอาหารไทย) แต่เนื่องจากมาตรฐานเพื่อเป็นการวัดระดับความเป็นสีเขียวทีีมีนั้น ได้เกิดขึ้นและพัฒนามาในต่างประเทศก่อน โดยประเทศไทยเรา ในการเริ่มต้นก็ได้นำเอามาปรับปรุง และโดยมีหน่วยงานของภาครัฐ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนรักษ์พลังงาน (พพ.) กระทรวงพลังงานในขั้นต้น ได้มอบหมายให้คณะผู้วิจัยจากคณะสถาปึตกรรมศาสตร์และสถาบันวิจัยพลังงานต่างๆ โดยศึกษาและวิจัยจากระบบที่คล้ายๆกันกับระบบของ LEED – Leadership in Enery and Environmental Design ของสหรัฐอเมริกาโดย USGBC (US… Read more ›