สวัสดีครับ & Hello – ออกแบบ : Design | 9 โดย ดร.สรชัย is a learning environment curated for ideation, practices, & thinking processes, with a touch of underlying theories. Topics range from design to cognition and technology derived from human-computer interaction, science, and… Read more ›
http://arinaction.org AR in ACTION is convening some of the top minds in Augmented Reality to accelerate conversation and collaboration amongst industry innovators, thought leaders, investors and corporations, who are working to bring the benefits of AR to the world. … Read more ›
เมื่อนักเรียนนักออกแบบจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์นำความรู้ในห้องเรียนออกมาสร้างใช้งานจริงให้กับผู้ป่วยไต ที่ไม่สามารถไปโรงพยายบาลได้ ด้วยการออกแบบ เป็นโครงการ บ้านล้างไตเคลื่อนที่ ‘บ้านตาน้อย 1.0’ “…เป็นพื้นที่พยาบาลสำหรับผู้มีรายได้น้อยที่อาศัยห่างไกลโรงพยาบาลชุมชน ไม่สะดวกเดินทาง เพื่อให้สามารถล้างไตด้วยตน เองที่บ้านได้ในสภาพแวดล้อมที่สะอาดปลอดภัย ผลงานการออกแบบของกลุ่มนิสิตในรายวิชา Action Design คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ถูกพัฒนาและสร้างขึ้นจริงในงบประมาณ 5 หมื่นบาท” อ้างอิงมาจากอาจารย์ปุ้ย สายทิวา รามสูต หัวหน้าภาคสถาปัตยกรรมคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ไปโหลดรายละเอียดได้ที่นี่ครับ http://builtenviforhealth.info/upload/download/th_161102094556.pdf ที่มาภาพจาก Design for Health …. When classroom’s studio design in Thailand to practically solve a real world… Read more ›
เป็นความรู้ case study ที่มาจาก Workshop จริงทำจริงได้ไปใช้ประโยชน์จริง โดยกลุ่มทีมงาน Learning, Design, and Technology www.artipania.com นำโดยน้องแพรว Prowpannarai Mallikamarl เป็นวิทยากรร่วมกับพญ.ศิริรัตน์ อุฬารตินนท์ ในโครงการพัฒนาต้นแบบในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดสำหรับเยาวชนอย่างครบวงจร จัดโดยสถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี https://medium.com/@artipania/how-design-thinking-helps-teachers-help-teenagers-86276dffcee2 ใช้ขบวนการ Designing Cognitive Behavior Thinking ผสมผสานระหว่างกระบวนการออกแบบ Human-Centered Design (หรือ Design Thinking) และเพื่อการบำบัดเทคนิคและทฤษฏีทางด้านการปรับความคิดและพฤติกรรม (Cognitive Behavior Therapy) Deep listening: ฟังด้วยใจ Finding the right problem: โจทย์ในการออกแบบ… Read more ›
การฝึกสมอง พัฒนาสุขภาพกบาลและความคิด สามารถทำได้ทั้งเด็ก วัยรุ่น กลางคน สูงอายุ ทำได้หมดครับ (คำว่า “กบาล” มันน่ารักดีครับ อย่าไปคิดว่าหยาบคายเลยครับ) บทความนี้ ไปสัมภาษณ์ด้านสมองและการเรียนรู้มา ผมเอามาแปลให้ฟังสั้นๆของทั้ง 7 ท่าน สรปได้ว่า เราต้องหมั่นฝึกสมอฝให้ได้คิดอยู่เรื่อยๆครับ เพื่อยืดงานการใช้งานให้มีประสิทธิภาพ http://baysidejournal.com/7-quotes-from-neuroscientists-that-will-revolutionize-brain-and-mind-health-fitness-and-wellness/ 1. การเรียนรู้ ฝึกให้สมอง มีการเรียนรู้ไปเรื่อยๆ “Learning is physical. Learning means the modification, growth, and pruning of our neurons, connections-called synapses- and… Read more ›
ออกตัว:ในฐานะเป็นนักออกแบบโดยเทรนนิ่งมากว่า 20 ปี และผันตัวมาเป็นผู้ศึกษากระบวนการคิดต่างๆ ทั้งระบบสมองและจิตวิทยาของมนุษย์ (Cognitive Science/Psychology) ไม่ว่าจะเป็นการเรียนรู้ทั่วไป การรับรู้วัตถุรอบตัว (ทั้ง analog, digital และ intelligent technologies), Motivation, Emphaty ไปถึงความคิดสร้างสรรค์ การตัดสินใจและพฤติกรรมของมนุษย์ ผมขออนุญาตถือวิสาสะเป็นคนช่วยเชื่อมต่อระหว่างกระบวนการทางความคิดด้านการออกแบบและผู้ใช้จากวิชาชีพสาขาอื่นๆทั่วๆไป และผมว่ามันถึงเวลาแล้วที่ผู้เรียนรู้อย่างเราๆ ควรจะมีองค์ความรู้อย่างจริงๆจังๆ ด้วยการ ตั้งคำถามให้เป็น รู้จักสงสัยให้สนุก หาคำตอบจากที่เชื่อถือได้ ลองไปปฏิบัติดู ผมเผลอคิดต่อไปว่า กระบวนการที่จะเรียกว่า Design Thinking (หรือ Design Sprint ที่ Googleใช้ 5-day หรือ 3-day sprint process… Read more ›
เปิดตัวไปแล้วครับ เพื่อสนับสนุน ธุรกิจ STARTUP ของคนไทย โดย National Innovation Agency (Thailand) Startup ป็นธุรกิจที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีแบบแผน และใช้เทคโนโลยีมาเป็นส่วนสำคัญในการดำเนินธุรกิจ มีศักยภาพการเติบโตสูงมากหรือ ‘โตแบบก้าวกระโดด’ ” เข้าไปดูได้ที่นี่ครับ Startup Thailand ผมมีโอกาสได้รับเชิญให้เขียนบทความสั้นๆสำหรับ Startup Thailand Magazine (download เล่มที่หนึ่ง) เกี่ยวกับ Design ลองเข้าไปอ่านดูนะครับ เรื่องแรกเกี่ยวกับการออกแบบเพื่อผู้ใช้ USERS MATTER (ตัวอย่างข้างล่างครับ คราวหน้าจะนำเนื่อหามาลงครับ) ต้องขอขอบคุณกองบอกอด้วยครับ
https://www.fastcodesign.com/90136950/how-pentagram-helped-samsung-rethink-its-design-language
Artificial Intelligence หรือ AI เข้ามาช่วยเปลี่ยนโลกและ Disrupt พฤติกรรมมนุษย์มากขึ้นทุกวัน สถาบันวิเคราะห์ทางธุรกิจ McKinsey Global Institute รายงานว่าเมื่อปี 2016 ที่ผ่านมา มีการลงทุนเทคโนโลยี AI ถึง $30-$46 Billion (ดอลล่าร์)ทั่วโลก โดย 90% ของเงินนี้เจาะจงไปที่งานวิจัยพัฒนาและการออกแบบ (R&D) แนวความคิดสั้นๆของ AI คือการประมวลผลจากการตั้งค่าสมการ Algorithm ให้คอมพิวเตอร์เรียนรู้เลียนแบบและประเมินผลลัพท์ที่ซับซ้อนหลากหลายออกมา กระบวนการคล้ายๆ Neural Networks ที่ประติดประต่อในสมองมนุษย์ ผลการประเมินของ AI (หรือบางทีเรียกว่า Deep Mind) สามารถส่งผลลัพท์ได้ตรงกับเป้าหมายทางธุรกิจ ที่ต่างไปจากการคาดคะเน… Read more ›
ต่อจากตอนที่แล้วครับ… การออกแบบพื้นที่ใช้สอย co-woring spaces ให้สวยน่าใช้ ไม่ใช่เรื่องยากสำหรับนักออกแบบ แต่การประเมินเอาองค์ประกอบต่างๆมาวางรวมกันให้เหมาะเจาะ ส่วนใช้งานอะไรตรงไหน จำนวนโต๊ะขนาดห้องประชุม พื้นที่ต่างๆ มีความยาก และจำเป็นต้องมีความรู้ที่ทันสมัยเสมอ เพราะการทำงานของ Co-working Spaces มีความ Flexibility อยู่มาก จึงเป็นเรื่องความชำนาญในการวิเคราะห์ตีโจทย์ให้แตก ที่นักออกแบบนำจากการสัมภาษณ์ จากงานที่เคยทำหรืองานของผู้อื่นมาเป็น Case Studies เพื่อการประเมินผลเพื่ออกแบบ การเก็บข้อมูลและประเมินนี้จะครบถ้วนหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับการค้นคว้าการเข้าถึง ซึ่งเป็นทักษะเป็น Intuition เทคโนโลยีปัจจุบันได้พัฒนาสามารถคำนวณและคาดคะเนอะไรต่างๆได้ชัดเจนและเร็วขึ้น จากการใช้ Machine Learning, Deep Learning หรือ Artificial Intelligence เมื่อมีข้อมูลมากขึ้นการคาดการจำนวนพื้นที่สร้างทำงานเพื่อตอบสนองการใช้งานก็ใกล้เคียงกับความต้องการมากเมื่อเทียบกันการนักออกแบบประเมิน องกรค์อย่าง WeWork… Read more ›
แหล่งข้อมูลการออกแบบครับ Design Principles by UK Government Digital Services https://www.gov.uk/design-principles Start with user needs เริ่มต้นด้วยความจำเป็นของผู้ใช้สอย เข้าใจผู้ใช้ให้ลึกซึ้ง ถาม สังเกต ค้นคว้า วิจัย 2. Do less ทำเท่าที่ควรทำ ใช้ resources ที่มี เน้น reusable and shareableไม่จำเป็นต้องสร้างใหม่เสมอๆ 3 Design with data ใช้ข้อมูลช่วยในการตัดสินใจ ไม่เดา ไม่มั่ว 4 Do the hard… Read more ›
หนึ่งในแหล่งข้อมูลความรู้สำหรับ UI/UX วิจัย แบะออกแบบโดย US Government https://www.usability.gov ตั้งแต่ขั้นตอนระเบียบวิธีวิจัยต่างๆ ฟอร์มทีมีให้ใช้ และแนวทาง ความรู้ User Experience เบื้องต้น การหา Participants การสร้างเนื้อหา การดูแลบริหารงาน องค์ประกอบในการออกแบบ
หัวใจของการออกแบบคือการทำให้ผู้ใช้ได้ประสบการณ์ที่ดีที่สุด ทั้งจากการใช้งานหรือจากทัศนียภาพรูปลักษณ์ การออกแบบที่พักอาศัย การออกแบบสถานที่ทำงานก็เช่นกัน โดยเฉพาะทุกวันนี้การออกแบบสถานที่ทำงานก็ต้องดัดแปลงรองรับพฤติกรรมผู้ใช้ที่เปลี่ยนไป บทความวันนี้ผมนำแก่นที่สำคัญของการออกแบบ Co-Working Spaces ที่มุ่งผลประโยชน์ต่อพฤติกรรมการทำงานแบบใหม่ที่มีส่วนทำให้เกิดการเปลี่ยนโลกการทำงานของเราดัวยครับ โดยแก่นที่หนึ่งเป็นการสร้างชุมชนนักทำงาน (Community-Driven Collaboration) ที่ส่งเสริมการทำงานร่วมกัน ส่วนแก่นที่สองเป็นการนำเอาเทคโนโลยี Artificial Intelligence มาจัดการสร้างฐานข้อมูลเพื่อช่วยในการออกแบบ (Data-Driven Design) Co-Working Spaces หนึ่งในธุรกิจปัจจุบันที่เข้ามาสนับสนุนการพฤติกรรมผู้คนในการทำงานสมัยใหม่ เป็นการจัดการใช้สอยพื้นที่ของมนุษย์ที่ต้องการความคล่องตัวและเป็นอิสระสูง รองรับ Freelancers, นักลงทุนรุ่นใหม่และรวมไปถึงคนทำงานในสตาร์ทอัฟทุกวันนี้ Co-Working Spaces จึงเหมาะกับทั้งคนทำงานเดี่ยวและกลุ่ม แต่มีโอกาสมาพบปะร่วมกับผู้อื่น ที่มีวิสัยทัศน์ทั้งใกล้เคียงและแตกต่างกัน ที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนซึ่งกันและกัน แก่นแรกของการออกแบบคือการสร้างพื้นที่ใช้สอยที่เอื้อต่อการทำงานร่วมกันได้ (Community-Driven Collaboration) ถือเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ ที่ก่อให้เกิดพัฒนาไปด้วยกัน แม้ว่าหลักการในการทำงานของตัวเองในสถานที่ร่วมกับผู้อื่นแบบนี้ ไม่ใช่หลักการอะไรใหม่ที่เพิ่งจะเกิดขึ้น หากเราย้อนกลับดูสมัย… Read more ›
พื้นฐานการศึกษาแลการมีทักษะรู้จักวิธีการเรียนรู้เป็นสิ่งสำคัญที่จำเป็นที่สุด การออกแบบ เทคโนโลยี นวตกรรม วิธีคิด มันเปลี่ยนแปลงรวดเร็วมากๆครับ ในอีก ปีสองปี หรือ สามปี โปแกรมการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ที่คิดไว้สร้างไว้ อนุมัติไว้ มันจะตามไม่ทันยุคสมัย ถัาพื้นฐานและทักษะการเรียนรู้ดี ไม่ว่าจะมีความรู้ด้านไหนๆมา การนำไปประยุกต์ ไปสานต่อความรู้แบบ ในโปรแกรมสั้นๆ bootcamp workshop ในอนาคตเอาได้ง่ายๆ ไม่ต้องกลัวใคร แต่ถ้าแผนการศึกษาที่ลงทุนคนรุ่นใหม่ลากยาว แบบวางแผนไปสี่ห้าปีโน้น ก็เหนื่อยกันหน่อยครับ เราต้องรู้จักใช้ความฉลาดของนวตกรรมมาเป็นตัวช่วย
การเรียนรู้ที่หยั่งลึกไปในเรื่องของสมอง ทำให้รู้ว่าในทางวิทยาศาตร์ความสำคัญหรือความแตกต่างของสมองแต่ละซีก ซ้าย หรือ ขวา ไม่เกี่ยวกับ logical หรือ creative skills ที่แบ่งแยกกันที่เราชอบพูดว่าใช้สมองซีกนี้มากกว่าซีกนั้น เก่งนี่เพระนั่นเพราะสมองซ้ายหรือขวา bla bla bla แต่ก็นั่นแหละ ครับ เหมือนเรื่องราวทั่วๆไปใน “ความเชื่อ” (ความอยากที่จะเชื่อ) ของมนุษย์เรามันเปลี่ยนยาก (หรือไม่อยากเปลี่ยน) เพราะมันพึ่งพาทางใจได้ดี ในแง่ที่มันปลอบใจในปมด้อยของตัวเราเองได้อย่างอบอุ่น บทความบทสัมภาษณ์นี้ดีครับ อธิบายชัดเจนว่าไม่เกี่ยวครับ: The Truth About The Left Brain / Right Brain Relationship ส่วนนักวิชาการทางด้านสมองตัวยงอย่าง Kosslyn บอกไว้ว่าถ้าจะให้ใกล้เคียงความเป็นจริง ควรจะเป็นความแตกต่างของสมองส่วนบน และส่วนล่างมากกว่า… Read more ›
เมื่อวานนี้ที่งาน Augmented Reality New York Meetup คุณ Abhishek Singh มาเล่าให้ฟังถึงความเป็นมา ที่เอา HoloLens มาผนวกกับ Super Mario เล่นในสวนสาธารณะในนิวยอร์ค เพิ่งหัดเขียนโคดเองไม่กี่ปี (Unity 3D) บอกว่าเอาพอเป็น คุณ Abhishek มี background ด้านบริหารธุรกิจ งานนี้ งานอดิเรกล้วนๆ โปรเจคนี้ ทำไม่เกินเดือนนึง แปะลง Youtube เมื่อวันพุธก่อน ณ วันนี้อาทิตย์เต็มๆ 7 แสนกว่า วิวแล้วครับ น่าจะด้วยเหตุผลง่ายๆ คนรู้จัก Super Mario… Read more ›
binge watch คืออะไร … binge watch คือการดูทีวีที่เป็นเป็นซีรี่ย์ๆต่อๆกันไปหลายๆตอน หรือไปจนจบ หรือเค้าเรียกว่านั่งดูแบบมาราธอน marathon viewing มีการใช้เรียก binge watch กันตั้งแต่ช่วง 2013 และเหมือนกับจะเป็นปรากฎการณ์พฤติกรรมที่ตอบสนองผู้บริโภคที่ฮิตๆใหม่ๆ มากขึ้นทุกวันนี้ แต่จริงๆแล้วการดูทีวีซีรี่ย์ประเภทนี้ไม่ใช่ว่าเพิ่งจะเกิดขึ้นมานะครับ เมื่อก่อนมีวีดีโอให้เช่า มีดีวีดี ก็ทำได้กันมาแล้วแหละ ผมจำได้ว่า ผมก็มีอาการนี้มาก่อนนานแล้ว ตั้งแต่สมัยที่เคยเช่าละครมาดูเย็นวันศุกร์หลังเลิกงาน จากร้านไทยใน china town แล้วดูต่อๆกันจนจบไปถึงวันอาทิตย์ อย่างอื่นไม่ทำ แล้วเอาวีดีโอไปคืนวันจันทร์ นั่นก็ช่วงกลางปี 90s สมัยที่ดีวีดียังไม่ฮิตด้วยซ้ำ ทีนี้พอ technology มันดีมันถึง มีการ steam หนังหรือทีวีซีรี่ย์… Read more ›
Eye Tracker is a technology or device that monitors eye position and eye movements as a means “of detecting a things” or “of studying how people interact computer, equipment, mobile phone, etc.” (while reading text, using apps, working on something). Eye tracking is… Read more ›
Our schools, and our society, must of more to recognize spatial reasoning, a key kind of intelligence by Gregory Park, David Lubinskil, & Camilla P. Benbow. “Due to the neglect of spatial ability in school curricula, traditional standardized assessments, and in… Read more ›
Visuospatial Thinking Skills (aka Spatial Abilities) ทักษะทางด้านมิติสัมพันธ์ (ตอนที่สอง) มาขยายความในทักษะที่ล่าวว่ามาอย่างหลากหลายรูปแบบ จากการมอง การแยกแยะ การรับรู้ มีหลายมิติ ที่พบเห็นในทางวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับ S.T.E.A.M. (Science, Technology, Engineering, Art, Mathematics) นะครับ ทักษะทางด้านมิติสัมพันธ์ดังที่กล่าวว่าหลากหลายนี้ เบื้องต้นประกอบไปด้วย การรับรู้ผ่านการมอง การแยกแยะในด้านมิติต่างๆ (spatial visualization) ความสามารถในการนึกการจินตนการการหมุนการเคลื่อนไหวของวัตถุหรือมิติ (mental rotation) และทักษะในการจินตนาการ การมองจากมุมมองต่างๆ ไม่ว่าจะเอาตัวเองเป็นที่ตั้ง หรือการจินตนาการว่าตัวเองเคลื่อนที่ (perspective taking) จากที่กล่าวไว้ว่าเป็นทักษะเบื้องต้น เพราะทักษะเหล่านี้สามารถแตกแยกย่อยลงไปได้อีก แต่อาจจะกล่างได้ว่า ทักษะในการนึกการจินตนการการหมุนการเคลื่อนไหวของวัตถุหรือมิติ (mental… Read more ›